วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 5


               บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่
วัน พฤหัสบดี ที่ 29 พฤศจิกายน 2555 (ตอนเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


           ในการเรียนวันนี้อาจารย์ได้ถามถึงหนังสือว่ามีเนื้อหาอย่างไรบ้าง และได้ถามนัศึกษาว่า ถ้าพูดถึงมาตราฐานทางคณิตศาสตร์นักศึกษานึกถึงอะไร
          กิจกรรมวันนี้ อาจารย์ให้จับคู่ คู่เดิมที่นักศึกษาได้จับเมื่อการเรียนสัปดาห์ที่แล้ว ให้นั่งคู่กันเพื่อทำกิจกรรมวันนี้ ส่วนนักศึกษาที่ไม่มีคู่หรือคู่ไม่มาก็ให้ทบทวนและทำกิจกรรมเดียวในกิจกรรมอาจารย์ให้แบ่ง กลุ่มหรือคู่ละ 1 หัวข้อ ใน 12 กลุ่มแรก ได้พูดขอบข่ายคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ    หน่วยสัตว์




1. การนับ = นับสัตว์ในสวนสัตว์
2. ตัวเลข  = เป็นตัวกำกับตัวเลขจากมาไปหาน้อย  ( ตัวเลข  -> แทนค่าจำนวน )
3. จับคู่     = ตัวเลขกับตัวเลข และรูปทรง
4. จัดประเภท = แยกประเภทของสัตว์ คือ สัตว์บก และ  สัตว์น้ำ
5. การเปรียบเทียบ =  สัตว์บก กับสัตว์น้ำ สัตว์ชนิดใดมากกว่า หรือน้อยกว่ากัน
6. การจัดลำดับ =  หาค่า, จับคู่ 1 : 1(ถ้าเด็กยังไม่มีประสบการณ์ด้านตัวเลขากพอ) ,นำมาเรียงลำดับ
7. รูปทรง และพื้นที่ = ไม่จำเป็นต้องจัด "ลำตัว" ของสัตว์ เสมอไป สามารถจัดเป็น ขนาดของกรงสัตว์ หรือ กำหนดรูปทรงแล้วถามว่า ... รูปทรงขนาดนี้สัตว์จะอยู่ในกรงได้ประมาณกี่ตัว ?
8. การวัด = วัดอาหารที่สัตรว์กินในแต่ละวัน,วัดพื้นที่ที่สัตว์อยู๋
9. เซต = การจัดตู้ปลา อุปกรณ์มีอะไรบ้าง ?
10. เศษส่วน = (สอนพื้นฐานให้กับเด็ก) การแบ่งนกในกรงในจำนวนที่เท่ากัน >> เน้นให้เด็กแบ่งครึ่ง ...
11. การทำตวามแบบ = สร้างแบบ และทำตวามแบบ
12. การอนุรักษ์ = ดินน้ำมัน (รูปร่างเปลี่ยนแปลงไป แต่ปริมาณเท่าเดิม) ,ทราย (เอาทรายใส่ขวดแล้วเอาแม่พิมพ์มาทำให้รูปร่างต่างกัน)

    และกลุ่มที่เหลืออีก 7 กลุ่ม ได้พูดขอบข่ายคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ    หน่วยผัก




สมาชิกในกลุ่มดิฉัน
1.  นางสาว พิชชา   พรมกลิ้ง   5411201543   เลขที่ 7

2.  นางสาว อิฏอาณิก   เทพยศ   5411201618   เลขที่ 11


หมายเหตุ เนื่อจากวันนี้ นางสาว อิฏอาณิก   เทพยศ ไม่มาเรียน ดิฉันจึงได้ พูดและทำกิจกรรมคนเดียว
กลุ่มดิฉันได้ หัวข้อที่ 4 คือ การจัดประเภท


1. การนับ = นับผักในตะกร้า
2. ตัวเลข = เรียงผักที่นับออกจากตะกร้า (ลำดับที่ 1,2,3,... ตามลำดับ)
3. จับคู๋ = จำนวนผัก กับเลขฮินดูอารบิก
4. จัดประเภท = แผกผักใบเขียว
5. การเปรียบเทียบ = จากขนาด ,รูปทรง ,จำนวน
6.  การจัดลำดับ = วัดผัก โดยการเปรียบเทียบ 1 : 1
7. รูปทรงและพื้นที่ = ตะกร้าสี่เหลี่ยม  ใส่แครอทได้กี่หัว?
ในการพูดหน้าชั้นเรียนของดิฉันได้หัวข้อ การจัดประเภท โดยดิฉันฉันได้ตั้งเกณฑ์ 2 เกณฑ์ จากนั้นเมื่อดิฉันพูดจบ อาจารย์ได้ให้ข้อเสนอแนะว่า การที่จะสอนเด็กต้องใช้เกณฑ์เพียง 1 เกณฑ์ เพราะจะทำให้เด็กเข้าใจง่าย


         ท้ายคาบของการเรียน อาจารย์ ให้เขียนความรู้สึกที่ได้เรียนในวันนี้และสัปดาห์หน้าอาจารย์ให้นักศึกษานำกล่อง มาคนละใบ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น